top of page

            นางบุษบา วงค์พิมล

  รองผู้อำนวยการฝ่ายการพยาบาล

ภาพพี่บา 2 (2).jpg
web11.png

ธรรมนูญองค์กรพยาบาล

web12.png
web13.png
web14.png
web15.png
web16.png
web17.png

โครงสร้างการบริหารงานกลุ่มภารกิจด้านการพยาบาล

โครงสร้าง.tif

1. คณะกรรมการบริหารการพยาบาล (Chief Nursing officers : CNO)  กลุ่มภารกิจด้านการพยาบาล โรงพยาบาลร้อยเอ็ด                       

   ประกอบด้วย หัวหน้าพยาบาล และรองหัวหน้าพยาบาล 5 ด้าน รวม 6 คน  มีหน้าที่

   1.1 กำหนดทิศทางนโยบาย สนับสนุน กำกับ ติดตาม การบริหารและการพัฒนาคุณภาพการพยาบาล

   1.2 อำนวยการ วางแผนพัฒนากลุ่มภารกิจด้านการพยาบาล ให้สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์โรงพยาบาลร้อยเอ็ด       

         แผนยุทธศาสตร์ของกองการพยาบาล และแผนยุทธศาสตร์ของกระทรวงสาธารณสุข

   1.3 กำหนดหลักเกณฑ์ การบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล ของกลุ่มภารกิจด้านการพยาบาล

   1.4 จัดทำ กำหนดระเบียบปฏิบัติงานที่สำคัญ ของกลุ่มภารกิจด้านการพยาบาล

   1.5 แต่งตั้งคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ หรือคณะทำงานตามความจำเป็น

   1.6 สร้างขวัญกำลังใจ และเป็นที่ปรึกษา ช่วยเหลือ แก้ไขปัญหา ภายในกลุ่มภารกิจด้านการพยาบาล

2. คณะกรรมการบริหารองค์กรพยาบาล (Nursing Service Organization : NSO ) ประกอบด้วย

   หัวหน้าพยาบาล รองหัวหน้าพยาบาล 5 ด้าน และหัวหน้ากลุ่มการพยาบาลทุกสาขา รวม 22 คน มีหน้าที่

   2.1 กำหนด วิสัยทัศน์ พันธกิจ นโยบายและจัดทำแผนยุทธศาสตร์ขององค์กรพยาบาลที่ครอบคลุมการส่งเสริมคุณภาพบริการพยาบาล        

   2.2 ส่งเสริม สนับสนุน และควบคุมกำกับการดำเนินงานการพยาบาลสอดคล้องกับนโยบายและทิศทางของโรงพยาบาล

   2.3 กำหนดระบบและกลไกการส่งเสริมคุณภาพบริการพยาบาล เพื่อมุ่งสู่ความเป็นเลิศ สนับสนุนบุคลากรพยาบาลให้มีศักยภาพ               

         และพร้อมในการบริการพยาบาลที่มีคุณภาพและมีความสุขในการทำงาน                                                                                                 

   2.4 ส่งเสริมเอกสิทธิ์ในการปฏิบัติการพยาบาล การคุ้มครอง และพิทักษ์สิทธิของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล                                      

3. คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพการพยาบาล ประกอบด้วยหัวหน้าพยาบาล หัวหน้างานกลุ่มงาน หัวหน้าหอผู้ป่วย หัวหน้างาน  72 คน

  3.1. คณะกรรมการบริหารการพยาบาล ด้านทรัพยากรบุคคล มีหน้าที่

      3.1.1 ร่วมวางแผนการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล (HRM Strategy) ของกลุ่มภารกิจด้านการพยาบาล

              ให้สอดคล้องกับนโยบายการพัฒนาความต้องการ/ปัญหาการพัฒนาระดับโรงพยาบาล และระดับเขต (HR Planning) 

      3.1.2 กำหนดเกณฑ์ คุณสมบัติ และแนวทางการคัดเลือกบุคลากร เพื่อบรรจุ แต่งตั้ง เลื่อนระดับ

      3.1.3 จัดทำ KPI รายบุคคล และพัฒนาระบบประเมินผลการปฏิบัติราชการ (PMS)

      3.1.4 พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล                                                       

      3.1.5 บริหารจัดการอัตรากำลังในกลุ่มภารกิจด้านการพยาบาลทั้งในและนอกเวลาราชการ

      3.1.6 ปฐมนิเทศบุคลากรทางการพยาบาลใหม่ทุกระดับ

      3.1.7 กำหนดเกณฑ์ คุณสมบัติบุคลากร เพื่อเสนอเข้ารับการคัดเลือกบุคคลดีเด่นในสาขาต่าง ๆ

      3.1.8 กำหนดแผน สนับสนุนความก้าวหน้าในวิชาชีพตาม Career path

      3.1.9 ประเมินความผูกพันต่อองค์กรบุคลากร ส่วนขาด และนำมาพัฒนา

      3.1.10 ดำเนินงานการพัฒนาคุณภาพการพยาบาลตามมาตรฐานการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (HA)

                ของสถาบันรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (สรพ.)

3.2. คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพการพยาบาล ด้านบริหาร มีหน้าที่

     3.2.1 จัดทำยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ และแผนงานโครงการ ของกลุ่มภารกิจด้านการพยาบาล รวบรวม กำกับ ติดตาม และประเมินผล

              การดำเนินตามแผนให้สอดคล้องกับทิศทางการจัดบริการพยาบาลและนโยบายของโรงพยาบาล

      3.2.2 จัดทำโครงสร้าง บทบาทหน้าที่ และขอบเขตงานบริการพยาบาล

      3.2.3 บริหารทรัพยากร วัสดุ ครุภัณฑ์ และงบประมาณให้พอเพียง เหมาะสม เกิดประสิทธิภาพ 

      3.2.4 กำหนดระเบียบปฏิบัติ แนวทางปฏิบัติต่างๆที่สอดคล้องกับระเบียบปฏิบัติของโรงพยาบาล และทางราชการ

      3.2.5 สนับสนุนการพัฒนาระบบสารสนเทศด้านบริหารขององค์กรพยาบาลให้มีประสิทธิภาพ                                                                    

      3.2.6 วางแผนการจัดระบบสนับสนุนการนิเทศทางการพยาบาล ในระดับองค์กรพยาบาล และระดับหน่วยงาน ในโรงพยาบาล                                                   

      3.2.7 ดูแลระบบการบริหารจัดการ จัดสวัสดิการบ้านพักให้แก่บุคลากรทางการพยาบาล

      3.2.8 พัฒนาระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมในการทำงาน

      3.2.9 พัฒนาระบบการจัดทำคุณลักษณะครุภัณฑ์การแพทย์

      3.2.10 งานด้านอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย เช่น การเบิกพตส. และค่าตอบแทนเพิ่มพิเศษ เป็นต้น

      3.2.11 กำกับ ติดตามตัวชี้วัด Service plan รายสาขาบริการ และตัวชี้วัดคุณภาพหน่วยงานบริการพยาบาล                         

      3.2.12 กำหนดระเบียบปฏิบัติ แนวทางปฏิบัติต่างๆที่สอดคล้องกับระเบียบปฏิบัติของโรงพยาบาล และของทางราชการ 

      3.2.13 สนับสนุนการพัฒนาระบบสารสนเทศด้านบริหารขององค์กรพยาบาลให้มีประสิทธิภาพ                                                                    

      3.2.14 วางแผนการจัดระบบสนับสนุนการนิเทศทางการพยาบาล ในระดับองค์กรพยาบาล และระดับหน่วยงาน ในโรงพยาบาล                                                  

      3.2.15 ดูแลระบบการบริหารจัดการ จัดสวัสดิการบ้านพักให้แก่บุคลากรทางการพยาบาล

      3.2.16 พัฒนาระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมในการทำงาน

      3.2.17 พัฒนาระบบการจัดทำคุณลักษณะครุภัณฑ์การแพทย์

      3.2.19 งานด้านอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย เช่น การเบิกพตส. และค่าตอบแทนเพิ่มพิเศษ เป็นต้น

      3.2.20 กำกับ ติดตามตัวชี้วัด Service plan รายสาขาบริการ และตัวชี้วัดคุณภาพหน่วยงานบริการพยาบาล 

3.3 คณะกรรมการบริหารการพยาบาล ด้านบริการ มีหน้าที่

     3.3.1 แผนปฏิบัติการด้านบริการพยาบาล เพื่อพัฒนาระบบบริการพยาบาลอย่างต่อเนื่อง 

     3.3.2 วางแผนการนิเทศ กำกับ ติดตามการนำมาตรฐานการพยาบาล สู่การปฏิบัติในแต่ละสาขาการพยาบาล                                   

     3.3.3 จัดทำ พัฒนา ทบทวน ระเบียบปฏิบัติ วิธีปฏิบัติทางการพยาบาล ตามมาตรฐานการพยาบาล

     3.3.4 กำกับ ติดตามตัวชี้วัดคุณภาพทางการพยาบาล

     3.3.5 ดำเนินการ ประสานแนวทางการพัฒนาคุณภาพทางการพยาบาล ระดับโรงพยาบาล ระดับจังหวัด เขตสุขภาพ และกองการพยาบาล

     3.3.6 พัฒนางานประกันคุณภาพการพยาบาลด้วยการนิเทศเชิงคลินิก เพื่อให้ผู้ป่วยปลอดภัย พึงพอใจ

     3.2.7 ประสานทีมสหวิชาชีพ ในการพัฒนามาตรฐานบริการพยาบาล   

3.4 คณะกรรมการบริหารการพยาบาล ด้านวิชาการ มีหน้าที่  

      3.4.1 ส่งเสริม สนับสนุนบุคลากรในการผลิตผลงานด้าน วิชาการ และนำองค์ความรู้เพื่อการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยอย่างเป็นรูปธรรม

      3.4.2 พัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านวิชาการและการจัดการความรู้ (Knowledge Management)

      3.4.3 พัฒนาเทคโนโลยี และระบบสารสนเทศทางการพยาบาล     

      3.4.4 พัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการพยาบาล และประเมินสมรรถนะการพยาบาล    

      3.4.5 พัฒนายกระดับศูนย์วิชาการและการเรียนรู้ทางการพยาบาล (Nursing Training Center)    

      3.4.6 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเผยแพร่ผลงานการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยทั้งภายในและภายนอกองค์กร

      3.4.7 ร่วมผลิตพยาบาลและบุคลากรด้านสุขภาพ เพื่อตอบสนองความต้องการของสังคม

      3.4.8 พัฒนาสมรรถนะการพยาบาลเฉพาะทาง 5 Excellent Center และกลุ่มโรคสำคัญเสี่ยงสูง      

3.5 คณะกรรมการบริหารการพยาบาล ด้านเกื้อกูลองค์กรและสังคม มีหน้าที่

      3.5.1 ส่งเสริม จัดกิจกรรมการเรียนรู้ การพัฒนาคุณภาพการพยาบาล ระหว่างองค์กร ทั้งภายในและภายนอก

     3.5.2 ประสานความร่วมมือและสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบายทั้งภายในองค์กรพยาบาล และ ในโรงพยาบาล

              รวมทั้งองค์กรวิชาชีพ/ภาคีและหน่วยงานภายนอกให้มีประสิทธิภาพ     

      3.5.3 สนับสนุนการพัฒนาระบบและกลไกจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพการพยาบาล

      3.5.4 ส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาสมรรถนะทางจริยธรรมและพฤติกรรมจริยธรรมของผู้บริหารการพยาบาล

               และผู้ปฏิบัติการพยาบาลในสังกัดกลุ่มภารกิจด้านการพยาบาล 

      3.5.5 ส่งเสริม สนับสนุน การร่วมกิจกรรมพิเศษขององค์กรพยาบาล และการบริการพยาบาลภายนอกโรงพยาบาล                                                                                                           4. คณะทำงานเฉพาะด้าน 5 คณะ

     4.1 คณะทำงานพัฒนาระบบการตรวจการพยาบาลนอกเวลาราชการ มีหน้าที่

         4.1.1 พัฒนาบุคลากรพยาบาลเพื่อเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติหน้าที่เวรตรวจการพยาบาล

         4.1.2 กำหนดแนวทางการนิเทศทางการพยาบาลของผู้ตรวจการพยาบาลนอกเวลาราชการตามเป้าหมาย นโยบายของกลุ่มภารกิจด้านการพยาบาล

         4.1.3 รวบรวม ปัญหา วิเคราะห์พร้อมเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาทางการปฏิบัติงานของพยาบาลเวรตรวจนอกเวลาราชการต่อคณะกรรมการบริหารองค์กรพยาบาล

     4.2 คณะทำงานตรวจประเมินค่าตอบแทนเพิ่มตามภาระงาน (P4P) มีหน้าที่

         4.2.1 จัดทำ รวบรวม และทบทวนแนวทางการจัดเก็บข้อมูล P4P ให้เป็นปัจจุบัน ถูกต้องเหมาะสมกับภาระงาน

         4.2.2 รวบรวม วิเคราะห์ สรุปผลและแก้ไขปัญหาการบันทึกค่าตอบแทนตามภาระงาน (P4P)

         4.2.3 สรุปส่งรายงานผลการปฏิบัติงานตามภาระงาน (P4P) เพื่อเบิกเงินค่าตอบแทน

     4.3. คณะทำงานการบริหารความเสี่ยงและคุณภาพการพยาบาล มีหน้าที่

          4.3.1 สำรวจและจัดทำทะเบียนข้อมูลความเสี่ยง (Risk Register) กำกับ ติดตามตัวชี้วัดด้านความเสี่ยงทางการพยาบาล ความเสี่ยงขององค์กรพยาบาล

          4.3.2 จัดทำระเบียบปฏิบัติ การบริหารความเสี่ยงทางการพยาบาล

          4.3.3 ติดตามการปฏิบัติตามแนวทาง ที่กำหนดและทบทวนเหตุการณ์สำคัญ

          4.3.4 รายงานความเสี่ยงประจำเดือน ครอบคลุมตามมาตรฐาน

          4.3.5 พัฒนาสมรรถนะบุคลากร ด้านการบริหารความเสี่ยงทางการพยาบาล

     4.4. คณะกรรมการบริหารยาพยาบาล หน้าที่

         4.4.1 กำหนดและเสนอแนวทางการบริหารยา ของกลุ่มภารกิจด้านการพยาบาล ให้สอดคล้องกับนโยบายด้านยา ของโรงพยาบาลร้อยเอ็ด

         4.4.2 จัดทำคู่มือ กำหนดแนวทาง ระเบียบ และวิธีการปฏิบัติการบริหารยา ขององค์กรพยาบาล

         4.4.3 ติดตาม นิเทศ และประเมินผลการปฏิบัติตามมาตรฐานการบริหารยา ขององค์กรพยาบาล

         4.4.4 ประสานเชื่อมโยงกับหน่วยงานและองค์กรวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง

         4.4.5 พัฒนาความรู้ด้านยาของบุคลากรพยาบาล

         4.4.6 รวบรวมรายงาน วิเคราะห์ ประเมินผล และรายงานผลการพัฒนาระบบการบริหารยา

         4.4.7 จัดทำการพัฒนาระบบการบริหารยาอย่างต่อเนื่อง กำกับติดตามตัวชี้วัดความคลาดเคลื่อนทางยา (Medication Error)

     4.5. คณะทำงานสร้างสุขในการทำงานและสวัสดิการพยาบาล  หน้าที่

          4.5.1 กำหนดเกณฑ์ และจัดสวัสดิการสำหรับบุคลากรทางการพยาบาล

          4.5.2 เก็บรวบรวม และรายงานการใช้เงินรายได้สวัสดิการบุคลากรทางการพยาบาล (กองทุนสวัสดิการ 200 บาท)

          4.5.3 เตรียมเอกสาร ข้อมูล บุคคล เพื่อจัดทำผลงานในการส่งเข้าประกวดบุคลากรดีเด่นทางการพยาบาล

          4.5.4 จัดกิจกรรมหารายได้เข้ากองทุนสวัสดิการ

          4.5.5 กำหนดเกณฑ์ และส่งเสริมการสนับสนุนบุคลากรในการรับรางวัลผลงานระดับต่าง ๆ

  • Instagram
  • Facebook
  • Twitter
  • LinkedIn
  • YouTube
  • TikTok

GET IN TOUCH

Thailand

043-518-200

ภาพถ่ายระยะใกล้ของหนังสือเล่มหนา

            นางบุษบา วงค์พิมล

  รองผู้อำนวยการฝ่ายการพยาบาล

ภาพพี่บา 2 (2).jpg
web11.png

ธรรมนูญองค์กรพยาบาล

web12.png
web13.png
web14.png
web15.png
web16.png
web17.png

โครงสร้างการบริหารงานกลุ่มภารกิจด้านการพยาบาล

โครงสร้าง.tif

1. คณะกรรมการบริหารการพยาบาล (Chief Nursing officers : CNO)  กลุ่มภารกิจด้านการพยาบาล โรงพยาบาลร้อยเอ็ด                       

   ประกอบด้วย หัวหน้าพยาบาล และรองหัวหน้าพยาบาล 5 ด้าน รวม 6 คน  มีหน้าที่

   1.1 กำหนดทิศทางนโยบาย สนับสนุน กำกับ ติดตาม การบริหารและการพัฒนาคุณภาพการพยาบาล

   1.2 อำนวยการ วางแผนพัฒนากลุ่มภารกิจด้านการพยาบาล ให้สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์โรงพยาบาลร้อยเอ็ด       

         แผนยุทธศาสตร์ของกองการพยาบาล และแผนยุทธศาสตร์ของกระทรวงสาธารณสุข

   1.3 กำหนดหลักเกณฑ์ การบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล ของกลุ่มภารกิจด้านการพยาบาล

   1.4 จัดทำ กำหนดระเบียบปฏิบัติงานที่สำคัญ ของกลุ่มภารกิจด้านการพยาบาล

   1.5 แต่งตั้งคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ หรือคณะทำงานตามความจำเป็น

   1.6 สร้างขวัญกำลังใจ และเป็นที่ปรึกษา ช่วยเหลือ แก้ไขปัญหา ภายในกลุ่มภารกิจด้านการพยาบาล

2. คณะกรรมการบริหารองค์กรพยาบาล (Nursing Service Organization : NSO ) ประกอบด้วย

   หัวหน้าพยาบาล รองหัวหน้าพยาบาล 5 ด้าน และหัวหน้ากลุ่มการพยาบาลทุกสาขา รวม 22 คน มีหน้าที่

   2.1 กำหนด วิสัยทัศน์ พันธกิจ นโยบายและจัดทำแผนยุทธศาสตร์ขององค์กรพยาบาลที่ครอบคลุมการส่งเสริมคุณภาพบริการพยาบาล        

   2.2 ส่งเสริม สนับสนุน และควบคุมกำกับการดำเนินงานการพยาบาลสอดคล้องกับนโยบายและทิศทางของโรงพยาบาล

   2.3 กำหนดระบบและกลไกการส่งเสริมคุณภาพบริการพยาบาล เพื่อมุ่งสู่ความเป็นเลิศ สนับสนุนบุคลากรพยาบาลให้มีศักยภาพ               

         และพร้อมในการบริการพยาบาลที่มีคุณภาพและมีความสุขในการทำงาน                                                                                                 

   2.4 ส่งเสริมเอกสิทธิ์ในการปฏิบัติการพยาบาล การคุ้มครอง และพิทักษ์สิทธิของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล                                      

3. คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพการพยาบาล ประกอบด้วยหัวหน้าพยาบาล หัวหน้างานกลุ่มงาน หัวหน้าหอผู้ป่วย หัวหน้างาน  72 คน

  3.1. คณะกรรมการบริหารการพยาบาล ด้านทรัพยากรบุคคล มีหน้าที่

      3.1.1 ร่วมวางแผนการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล (HRM Strategy) ของกลุ่มภารกิจด้านการพยาบาล

              ให้สอดคล้องกับนโยบายการพัฒนาความต้องการ/ปัญหาการพัฒนาระดับโรงพยาบาล และระดับเขต (HR Planning) 

      3.1.2 กำหนดเกณฑ์ คุณสมบัติ และแนวทางการคัดเลือกบุคลากร เพื่อบรรจุ แต่งตั้ง เลื่อนระดับ

      3.1.3 จัดทำ KPI รายบุคคล และพัฒนาระบบประเมินผลการปฏิบัติราชการ (PMS)

      3.1.4 พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล                                                       

      3.1.5 บริหารจัดการอัตรากำลังในกลุ่มภารกิจด้านการพยาบาลทั้งในและนอกเวลาราชการ

      3.1.6 ปฐมนิเทศบุคลากรทางการพยาบาลใหม่ทุกระดับ

      3.1.7 กำหนดเกณฑ์ คุณสมบัติบุคลากร เพื่อเสนอเข้ารับการคัดเลือกบุคคลดีเด่นในสาขาต่าง ๆ

      3.1.8 กำหนดแผน สนับสนุนความก้าวหน้าในวิชาชีพตาม Career path

      3.1.9 ประเมินความผูกพันต่อองค์กรบุคลากร ส่วนขาด และนำมาพัฒนา

      3.1.10 ดำเนินงานการพัฒนาคุณภาพการพยาบาลตามมาตรฐานการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (HA)

                ของสถาบันรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (สรพ.)

3.2. คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพการพยาบาล ด้านบริหาร มีหน้าที่

     3.2.1 จัดทำยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ และแผนงานโครงการ ของกลุ่มภารกิจด้านการพยาบาล รวบรวม กำกับ ติดตาม และประเมินผล

              การดำเนินตามแผนให้สอดคล้องกับทิศทางการจัดบริการพยาบาลและนโยบายของโรงพยาบาล

      3.2.2 จัดทำโครงสร้าง บทบาทหน้าที่ และขอบเขตงานบริการพยาบาล

      3.2.3 บริหารทรัพยากร วัสดุ ครุภัณฑ์ และงบประมาณให้พอเพียง เหมาะสม เกิดประสิทธิภาพ 

      3.2.4 กำหนดระเบียบปฏิบัติ แนวทางปฏิบัติต่างๆที่สอดคล้องกับระเบียบปฏิบัติของโรงพยาบาล และทางราชการ

      3.2.5 สนับสนุนการพัฒนาระบบสารสนเทศด้านบริหารขององค์กรพยาบาลให้มีประสิทธิภาพ                                                                    

      3.2.6 วางแผนการจัดระบบสนับสนุนการนิเทศทางการพยาบาล ในระดับองค์กรพยาบาล และระดับหน่วยงาน ในโรงพยาบาล                                                   

      3.2.7 ดูแลระบบการบริหารจัดการ จัดสวัสดิการบ้านพักให้แก่บุคลากรทางการพยาบาล

      3.2.8 พัฒนาระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมในการทำงาน

      3.2.9 พัฒนาระบบการจัดทำคุณลักษณะครุภัณฑ์การแพทย์

      3.2.10 งานด้านอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย เช่น การเบิกพตส. และค่าตอบแทนเพิ่มพิเศษ เป็นต้น

      3.2.11 กำกับ ติดตามตัวชี้วัด Service plan รายสาขาบริการ และตัวชี้วัดคุณภาพหน่วยงานบริการพยาบาล                         

      3.2.12 กำหนดระเบียบปฏิบัติ แนวทางปฏิบัติต่างๆที่สอดคล้องกับระเบียบปฏิบัติของโรงพยาบาล และของทางราชการ 

      3.2.13 สนับสนุนการพัฒนาระบบสารสนเทศด้านบริหารขององค์กรพยาบาลให้มีประสิทธิภาพ                                                                    

      3.2.14 วางแผนการจัดระบบสนับสนุนการนิเทศทางการพยาบาล ในระดับองค์กรพยาบาล และระดับหน่วยงาน ในโรงพยาบาล                                                  

      3.2.15 ดูแลระบบการบริหารจัดการ จัดสวัสดิการบ้านพักให้แก่บุคลากรทางการพยาบาล

      3.2.16 พัฒนาระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมในการทำงาน

      3.2.17 พัฒนาระบบการจัดทำคุณลักษณะครุภัณฑ์การแพทย์

      3.2.19 งานด้านอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย เช่น การเบิกพตส. และค่าตอบแทนเพิ่มพิเศษ เป็นต้น

      3.2.20 กำกับ ติดตามตัวชี้วัด Service plan รายสาขาบริการ และตัวชี้วัดคุณภาพหน่วยงานบริการพยาบาล 

3.3 คณะกรรมการบริหารการพยาบาล ด้านบริการ มีหน้าที่

     3.3.1 แผนปฏิบัติการด้านบริการพยาบาล เพื่อพัฒนาระบบบริการพยาบาลอย่างต่อเนื่อง 

     3.3.2 วางแผนการนิเทศ กำกับ ติดตามการนำมาตรฐานการพยาบาล สู่การปฏิบัติในแต่ละสาขาการพยาบาล                                   

     3.3.3 จัดทำ พัฒนา ทบทวน ระเบียบปฏิบัติ วิธีปฏิบัติทางการพยาบาล ตามมาตรฐานการพยาบาล

     3.3.4 กำกับ ติดตามตัวชี้วัดคุณภาพทางการพยาบาล

     3.3.5 ดำเนินการ ประสานแนวทางการพัฒนาคุณภาพทางการพยาบาล ระดับโรงพยาบาล ระดับจังหวัด เขตสุขภาพ และกองการพยาบาล

     3.3.6 พัฒนางานประกันคุณภาพการพยาบาลด้วยการนิเทศเชิงคลินิก เพื่อให้ผู้ป่วยปลอดภัย พึงพอใจ

     3.2.7 ประสานทีมสหวิชาชีพ ในการพัฒนามาตรฐานบริการพยาบาล   

3.4 คณะกรรมการบริหารการพยาบาล ด้านวิชาการ มีหน้าที่  

      3.4.1 ส่งเสริม สนับสนุนบุคลากรในการผลิตผลงานด้าน วิชาการ และนำองค์ความรู้เพื่อการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยอย่างเป็นรูปธรรม

      3.4.2 พัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านวิชาการและการจัดการความรู้ (Knowledge Management)

      3.4.3 พัฒนาเทคโนโลยี และระบบสารสนเทศทางการพยาบาล     

      3.4.4 พัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการพยาบาล และประเมินสมรรถนะการพยาบาล    

      3.4.5 พัฒนายกระดับศูนย์วิชาการและการเรียนรู้ทางการพยาบาล (Nursing Training Center)    

      3.4.6 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเผยแพร่ผลงานการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยทั้งภายในและภายนอกองค์กร

      3.4.7 ร่วมผลิตพยาบาลและบุคลากรด้านสุขภาพ เพื่อตอบสนองความต้องการของสังคม

      3.4.8 พัฒนาสมรรถนะการพยาบาลเฉพาะทาง 5 Excellent Center และกลุ่มโรคสำคัญเสี่ยงสูง      

3.5 คณะกรรมการบริหารการพยาบาล ด้านเกื้อกูลองค์กรและสังคม มีหน้าที่

      3.5.1 ส่งเสริม จัดกิจกรรมการเรียนรู้ การพัฒนาคุณภาพการพยาบาล ระหว่างองค์กร ทั้งภายในและภายนอก

     3.5.2 ประสานความร่วมมือและสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบายทั้งภายในองค์กรพยาบาล และ ในโรงพยาบาล

              รวมทั้งองค์กรวิชาชีพ/ภาคีและหน่วยงานภายนอกให้มีประสิทธิภาพ     

      3.5.3 สนับสนุนการพัฒนาระบบและกลไกจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพการพยาบาล

      3.5.4 ส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาสมรรถนะทางจริยธรรมและพฤติกรรมจริยธรรมของผู้บริหารการพยาบาล

               และผู้ปฏิบัติการพยาบาลในสังกัดกลุ่มภารกิจด้านการพยาบาล 

      3.5.5 ส่งเสริม สนับสนุน การร่วมกิจกรรมพิเศษขององค์กรพยาบาล และการบริการพยาบาลภายนอกโรงพยาบาล                                                                                                           4. คณะทำงานเฉพาะด้าน 5 คณะ

     4.1 คณะทำงานพัฒนาระบบการตรวจการพยาบาลนอกเวลาราชการ มีหน้าที่

         4.1.1 พัฒนาบุคลากรพยาบาลเพื่อเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติหน้าที่เวรตรวจการพยาบาล

         4.1.2 กำหนดแนวทางการนิเทศทางการพยาบาลของผู้ตรวจการพยาบาลนอกเวลาราชการตามเป้าหมาย นโยบายของกลุ่มภารกิจด้านการพยาบาล

         4.1.3 รวบรวม ปัญหา วิเคราะห์พร้อมเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาทางการปฏิบัติงานของพยาบาลเวรตรวจนอกเวลาราชการต่อคณะกรรมการบริหารองค์กรพยาบาล

     4.2 คณะทำงานตรวจประเมินค่าตอบแทนเพิ่มตามภาระงาน (P4P) มีหน้าที่

         4.2.1 จัดทำ รวบรวม และทบทวนแนวทางการจัดเก็บข้อมูล P4P ให้เป็นปัจจุบัน ถูกต้องเหมาะสมกับภาระงาน

         4.2.2 รวบรวม วิเคราะห์ สรุปผลและแก้ไขปัญหาการบันทึกค่าตอบแทนตามภาระงาน (P4P)

         4.2.3 สรุปส่งรายงานผลการปฏิบัติงานตามภาระงาน (P4P) เพื่อเบิกเงินค่าตอบแทน

     4.3. คณะทำงานการบริหารความเสี่ยงและคุณภาพการพยาบาล มีหน้าที่

          4.3.1 สำรวจและจัดทำทะเบียนข้อมูลความเสี่ยง (Risk Register) กำกับ ติดตามตัวชี้วัดด้านความเสี่ยงทางการพยาบาล ความเสี่ยงขององค์กรพยาบาล

          4.3.2 จัดทำระเบียบปฏิบัติ การบริหารความเสี่ยงทางการพยาบาล

          4.3.3 ติดตามการปฏิบัติตามแนวทาง ที่กำหนดและทบทวนเหตุการณ์สำคัญ

          4.3.4 รายงานความเสี่ยงประจำเดือน ครอบคลุมตามมาตรฐาน

          4.3.5 พัฒนาสมรรถนะบุคลากร ด้านการบริหารความเสี่ยงทางการพยาบาล

     4.4. คณะกรรมการบริหารยาพยาบาล หน้าที่

         4.4.1 กำหนดและเสนอแนวทางการบริหารยา ของกลุ่มภารกิจด้านการพยาบาล ให้สอดคล้องกับนโยบายด้านยา ของโรงพยาบาลร้อยเอ็ด

         4.4.2 จัดทำคู่มือ กำหนดแนวทาง ระเบียบ และวิธีการปฏิบัติการบริหารยา ขององค์กรพยาบาล

         4.4.3 ติดตาม นิเทศ และประเมินผลการปฏิบัติตามมาตรฐานการบริหารยา ขององค์กรพยาบาล

         4.4.4 ประสานเชื่อมโยงกับหน่วยงานและองค์กรวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง

         4.4.5 พัฒนาความรู้ด้านยาของบุคลากรพยาบาล

         4.4.6 รวบรวมรายงาน วิเคราะห์ ประเมินผล และรายงานผลการพัฒนาระบบการบริหารยา

         4.4.7 จัดทำการพัฒนาระบบการบริหารยาอย่างต่อเนื่อง กำกับติดตามตัวชี้วัดความคลาดเคลื่อนทางยา (Medication Error)

     4.5. คณะทำงานสร้างสุขในการทำงานและสวัสดิการพยาบาล  หน้าที่

          4.5.1 กำหนดเกณฑ์ และจัดสวัสดิการสำหรับบุคลากรทางการพยาบาล

          4.5.2 เก็บรวบรวม และรายงานการใช้เงินรายได้สวัสดิการบุคลากรทางการพยาบาล (กองทุนสวัสดิการ 200 บาท)

          4.5.3 เตรียมเอกสาร ข้อมูล บุคคล เพื่อจัดทำผลงานในการส่งเข้าประกวดบุคลากรดีเด่นทางการพยาบาล

          4.5.4 จัดกิจกรรมหารายได้เข้ากองทุนสวัสดิการ

          4.5.5 กำหนดเกณฑ์ และส่งเสริมการสนับสนุนบุคลากรในการรับรางวัลผลงานระดับต่าง ๆ

  • Instagram
  • Facebook
  • Twitter
  • LinkedIn
  • YouTube
  • TikTok

Recent Posts

Archive

Tags

GET IN TOUCH

Thailand

043-518-200

bottom of page